Year: 2020

การตีความ “ฐานะของผู้ที่จะได้รับความช่วยเหลือจากกองทุนยุติธรรม”

การตีความ ฐานะของผู้ที่จะได้รับความช่วยเหลือจากกองทุนยุติธรรม ปัจจุบันยังเป็นปัญหาสำคัญที่เป็นอุปสรรคในการเข้าถึงกองทุนยุติธรรม

การใช้ดุลพินิจของคณอนุกรรมการ ตัดสินความถูกผิดการกระทำของ “ผู้ขอรับความช่วยเหลือ”

การใช้ดุลพินิจของคณะอนุกรรมการในการพิจารณาไปถึงความถูกผิดการกระทำของ ผู้ขอรับความช่วยเหลือ เป็นการพิจารณาที่มีลักษณะซ้อนกับหลักเกณฑ์ที่ศาล พนักงานอัยการ หรือพนักงานสอบสวน จะต้องวินิจฉัยคำร้องขอปล่อยชั่วคราวตามที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาอยู่แล้ว

อุปสรรคการเข้าถึงกองทุนยุติธรรม

การบังคับใช้พระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. 2558 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2559 ปรากฏมีประเด็นและอุปสรรคในการเข้าถึงกองทุนยุติธรรม จากกลุ่มทนายความและกลุ่มชาวบ้านซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นผู้เกี่ยวข้องหรืออยู่ในฐานะ “ผู้ขอรับความช่วยเหลือ”

สถานการณ์โควิด-19 แว่นขยายฉายภาพปัญหา “คนจนมักติดคุก” ที่เรื้อรังมานาน

สถานการณ์โควิด-19 แว่นขยายฉายภาพปัญหา “คนจนมักติดคุก” ที่เรื้อรังมานาน ท่ามกลางสภาวะการระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่ทั่วทั้งโลกต่างต้องออกมาตรการเพื่อยับยั้งการระบาดของโลก และปกป้องชีวิตและความปลอดภัยของประชาชนอย่างดีที่สุด ทางด้านประเทศไทย ได้มีการรณรงค์ให้ทุกคนร่วมมือกันเว้นระยะห่างทางสังคม หรือ Social Distancing อีกทั้งรัฐบาลได้ประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หรือ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 ถึง 30 เมษายน 2563 โดยรายละเอียดของมาตรการยับยั้งโรคระบาดนั้นจะเป็นไปตามข้อกำหนดออกตามมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 ฉบับที่ 1 และ ฉบับที่ 2 ซึ่งมีข้อกำหนดในการจำกัดพื้นที่ ปิดสถานที่เสี่ยง การห้ามกักตุนสินค้า ห้ามชุมนุมหรือการนำเสนอข่าวต่างๆ และล่าสุดมีคำสั่งห้ามออกจากเคหสถานตั้งแต่เวลา 22.00- 04.00 น. ยกเว้นผู้ที่มีความจำเป็นหรือผู้ที่ปฏิบัติงานในหน้าที่ที่ได้ระบุไว้ หรือถ้าหากในพื้นที่ใดมีมาตรการที่มากกว่านี้ ให้ปฏิบัติตามมาตรการในพื้นที่ดังกล่าว โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน 2563 เป็นต้นไป จากมาตรการทั้งหมดที่ได้นำมาใช้ ไม่ว่าจะเป็นการรณรงค์ให้เว้นระยะห่างทางสังคม หรือแม้กระทั่งมาตรการทางกฎหมายล้วนแล้วแต่มีจุดประสงค์ให้เกิดการตัดตอนการระบาดของโรคจากการที่ประชาชนพบปะกันน้อยลง ซึ่งมาตรการเหล่านี้ย่อมส่งผลต่อวิถีชีวิตของประชาชนทั่วไป ทั้งในด้านการใช้ชีวิตประจำวัน […]

ยาแรงยับยั้งโควิด-19 ของปอท. อาจเป็นมาตรการปิดกั้นเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น

ครั้งแรกของการประชุมศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 หรือ ศบค. โดยมีพล.อ.ประยุทธ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นประธานศูนย์ กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ปอท.) ได้เสนอประเด็นทางกฎหมายเพิ่มเติมจากการออกข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ข้อ 6 ซึ่งเป็นเรื่องของ “การนำเสนอข่าว”

สิทธิเสรีภาพในการแสดงออกท่ามกลางสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 ระบาด : กรณีจับ-ดำเนินคดีพ.ร.บ.คอมฯ ผู้กลับจากสเปน โพสต์เล่า ไม่มีมาตรการตรวจโควิดที่สนามบิน

กรณีดนัย อุศมา โพสต์ข้อความแสดงความคิดเห็นบน Facebook ในเชิงการตรวจสอบการทำงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยระบุว่า “ตนเดินทางจากบาเซโลน่า ที่สนามบินบาเซโลน่า ตนและคนอื่นๆถูกตรวจร่างกายอย่างเข้มงวดก่อนจะขึ้นเครื่อง มาต่อเครื่องที่อาบูดาบี ต้องเดินผ่าน 3 ขั้นตอนในการตรวจร่างกายก่อนขึ้นเครื่อง จนบินมาถึงสนามบินสุวรรณภูมิไม่ได้รับการตรวจสุขภาพใดๆ” และถูกเข้าจับกุมเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2563 ในข้อหา “นำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน” ซึ่งเป็นการถูกจับกุมในระหว่างที่นายดนัยกำลังกักกันตัวเองตามนโยบายของภาครัฐที่ให้กักตัว 14 วันหลังจากกลับจากประเทศกลุ่มเสี่ยง และเป็นการจับโดยที่ไม่มีการออกหมายเรียกมาก่อน

ส.ส.รังสิมันต์ ถูกฟ้องหมิ่นประมาทหลังอภิปรายเรื่อง #ป่ารอยต่อ

จากกรณีที่นายรังสิมันต์ โรม ส.ส. บัญชีรายชื่อและรองโฆษกพรรคก้าวไกล ได้รับหมายเรียกจากสน.บางขุนนนท์ ลงวันที่ 12 มีนาคม 2563 ให้ไปรับทราบข้อกล่าวหาหมิ่นประมาทผู้อื่นโดยการโฆษณา เนื่องจาก มูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอย 5 จังหวัด โดยพ.อ.ภิญโญ บุญทรงสันติกุล ได้รับมอบอำนาจให้แจ้งความกล่าวหานายรังสิมันต์ จากการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 27 ก.พ. 2563 เกี่ยวกับมูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด

ข้อเรียกร้องต่อกรณีการจากไปของผู้พิพากษาคณากร เพียรชนะ

สืบเนื่องจากกรณีการเสียชีวิตของผู้พิพากษาคณากร เพียรชนะ โดยก่อนหน้านั้นมีการเผยแพร่แถลงการณ์ของนายคณากร ที่มีสาระสำคัญกล่าวถึงการแทรกแซงผลคำพิพากษาโดยอธิบดีผู้พิพากษาภาค

การใช้ดุลพินิจในการพิจารณาให้ความช่วยเหลือ ซึ่งมีลักษณะตัดสินการกระทำของผู้ขอรับความช่วยเหลือ ว่ามีความผิดหรือมีส่วนเกี่ยวข้องในการกระทำความผิด

การใช้ดุลพินิจของคณะอนุกรรมการ ตามระเบียบคณะกรรมการกองทุนยุติธรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ในการช่วยเหลือประชาชนในการดำเนินคดี พ.ศ. 2559 ซึ่งออกตามมาตรา 18 (2) มาตรา 26 วรรคสอง มาตรา 27 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ.2558 ข้อ 11

ทำความรู้จัก…คดีวิสามัญฆาตกรรม

การวิสามัญฆาตกรรม คือ การตายโดยการกระทำของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ หรือตายในระหว่างอยู่ในความควบคุมของเจ้าพนักงานซึ่งอ้างว่าปฏิบัติราชการตามหน้าที่ ซึ่งในปัจจุบันไม่ได้มีการใช้ถ้อยคำนี้ในกฎหมายหลักอีกต่อไป แต่หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องและประชาชนทั่วไปก็ยังมีการใช้คำว่าวิสามัญฆาตกรรมอยู่ และคำนี้ยังคงปรากฏในระเบียบปฏิบัติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอีกหลายหน่วยงาน เช่น ในระเบียบสำนักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดำเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการ พ.ศ.2547 เป็นต้น
เมื่อเกิดเหตุการณ์วิสามัญฆาตกรรมขึ้น คดีจะถูกแบ่งออกเป็น 3 สำนวนที่พนักงานสอบสวนต้องดำเนินการ คือ คดีชันสูตรพลิกศพ คดีที่ผู้ตายตกเป็นผู้ต้องหา และคดีที่เจ้าหน้าที่ตกเป็นผู้ต้องหา/คดีวิสามัญฆาตกรรม

1 4 5 6 7